DRAWING BY AUTO CAD
บัลลาสต์แกนเหล็ก
ที่ใช้งานกันทั่วไปจะเป็นชนิดความเหนี่ยวนำ แกนเหล็กประกอบมาจากแผ่นเหล็กนำมาเรียงกันและ
พันรอบด้วยขดลวดทองแดง มีการสูญเสียพลังงาน 9-13 วัตต์ แล้วแต่คุณภาพของวัสดุแกนเหล็ก ขดลวดที่
นำมาใช้และขนาดกำลังของหลอดไฟฟ้า ซึ่งจะทำให้บัลลาสต์มีอุณหภูมิขณะใช้งานอยู่ในช่วง 55-70oC
ภายหลังมีการปรับปรุงวัสดุแกนเหล็กและขดลวดให้มีคุณภาพดีขึ้นที่เรียกว่าบัลลาสต์กำลังสูญเสียต่ำ ซึ่งมีการ
สูญเสียพลังงานไม่เกิน 6 วัตต์ ส่วนอุณหภูมิขณะใช้งาน 35-50oC
ข้อดี
• ราคาต่ำ และอายุใช้งานยาวนานมาก (20 ปี)
• ทนต่อสภาพแวดล้อม เช่น แรงดันไม่คงทีอุณหภูมิสูง
• ช่างติดตั้งได้อย่างคุ้นเคยและหาซื้อได้ทั่วไป
ข้อเสีย
• มีการสูญเสียพลังงานสูงประมาณ 6-13 W
• เกิดความร้อนสู่สภาพแวดล้อมสูง และมีเสียงคราง
• มีค่าตัวประกอบกำลังต่ำ (PF = 0.27-0.52)
• ใช้เวลา 2-3 วินาที จึงให้แสงสว่าง และมีการกระเพื่อม
• มีการกระพริบเมื่อหลอดไฟฟ้า บัลลาสต์ หรือสตาร์ทเตอร์
เสื่อม ทำให้เปลืองไฟ อาจทำให้เกิดไฟไหม้ได้เพราะ
กระแสสูงผิดปกติ ทำให้ชุดขดลวดร้อนผิดปกติ
บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์
คืออุปกรณ์ที่ใช้คู่กับหลอดฟลูออเรสเซนต์เพื่อทดแทนบัลลาสต์แบบแกนเหล็ก โดยอาศัยหลักการใช้
ไฟฟ้ากระแสสลับความถี่สูงในการลดกำลังสูญเสียของบัลลาสต์ แต่ยังสมารถที่จะควบคุมกระแสที่ผ่านหลอด
และจุดหลอดได้ในตอนเริ่มต้นโดยไม่ต้องใช้สตาร์ทเตอร์ โดยทั่วไปแล้วจะมีค่าตัวประกอบกำลังต่ำต้องใช้
อุปกรณ์ปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลัง ซึ่งจะถูกต่อระหว่างแหล่งจ่ายไฟ และบัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์
ปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังถูกออกแบบให้อยู่ในรูปขดลวด เหนี่ยวนำหรือวงจรอิเล็กทรอนิกส์
ข้อดี
• ลดการสูญเสียพลังงานที่ตัวบัลลาสต์ประมาณ8-9 วัตต์
(สำหรับหลอดฟลูออเรสเซนต์ ขนาด18 W และ 36 W)
• มีค่าตัวประกอบกำลังสูง (โดยทั่วไป PF>0.96)
• ให้แสงสว่างทันที ไม่มีการกระเพื่อม และหรี่แสงได้
• มีวงจรควบคุมตัดการจ่ายกระแสไฟฟ้าเมื่อผิดปกติ
• การเสื่อมของหลอดลดลง อายุใช้งานนานขึ้น
• ลดความร้อนสู่สภาพแวดล้อม ลดเสียงคราง น้ำหนักเบา ไม่
ต้องใช้สตาร์ทเตอร์ภายนอก ใช้กับไฟฟ้ากระแสตรงได้
ข้อเสีย
• ราคาสูง และอายุการใช้งานสั้น
• มีข้อจำกัดในการใช้งานในสถานที่มีอุณหภูมิสูงมีฝุ่น
ละอองน้ำ ไอน้ำมัน หรือแรงดันไม่คงที่
• มีข้อที่ต้องระมัดระวังในการเลือกซื้อ และการ
เลือกใช้ให้เหมาะสมต่อลักษณะการใช้งาน
• มีข้อเสียเรื่องสิ่งแวดล้อมที่ขยะอิเล็กทรอนิกส์ไม่
สามารถ Recycle ได้เหมือนขยะจากบัลลาสต์แกน
เหล็ก
ไฟกระพริบตามเวลาที่ตั้งไว้ (3 ชุด)
ไฟกระพริบตามเวลาที่ตั้งไว (3 ชุด)
อุปกรณ์ที่ใช้
1. สวิทช์ปกติเปิด 1 ตัว
2. สวิทช์ปกติปิด 1 ตัว
3. รีเลย์ 3 ตัว
4. ทามเมอร์ตั้งเวลา 3 ตัว
การทำงาน
เมื่อกดสวิทช์ PB2 รีเลย์(RC1),ทามเมอร์(TM1),หลอด(PL1) ทำงานเมื่อถึงเวลาที่ทามเมอร์(TM1)ตั้งไว้คอนแทคทามเมอร์(TM1) ON ต่อให้ชุดที่2 ON ขึ้นมาและรีเลย์(RC2)ตัดการทำงานชุดที่1 เมื่อคอนแทคทามเมอร์(TM2) ON ก็จะต่อให้ชุดที่3 ON พร้อมกับตัดชุดที่2 เมื่อถึงเวลาที่ตั้งไว้ทามเมอร์(TM3) ON ก็จะต่อให้ชุดที่1 ON ชุดที่1 ก็มาตัดชุดที่3 ทำงานสลับกันไปมาเช่นนี้จนกว่าจะกดสวิทช์(PB1) การทำงานก็จะหยุด
ตัวอย่างทามเมอร์(TM)
ตัวอย่างหลอด(PL)
1. สวิทช์ปกติเปิด 1 ตัว
2. สวิทช์ปกติปิด 1 ตัว
3. รีเลย์ 3 ตัว
4. ทามเมอร์ตั้งเวลา 3 ตัว
การทำงาน
เมื่อกดสวิทช์ PB2 รีเลย์(RC1),ทามเมอร์(TM1),หลอด(PL1) ทำงานเมื่อถึงเวลาที่ทามเมอร์(TM1)ตั้งไว้คอนแทคทามเมอร์(TM1) ON ต่อให้ชุดที่2 ON ขึ้นมาและรีเลย์(RC2)ตัดการทำงานชุดที่1 เมื่อคอนแทคทามเมอร์(TM2) ON ก็จะต่อให้ชุดที่3 ON พร้อมกับตัดชุดที่2 เมื่อถึงเวลาที่ตั้งไว้ทามเมอร์(TM3) ON ก็จะต่อให้ชุดที่1 ON ชุดที่1 ก็มาตัดชุดที่3 ทำงานสลับกันไปมาเช่นนี้จนกว่าจะกดสวิทช์(PB1) การทำงานก็จะหยุด
ตัวอย่างทามเมอร์(TM)
ไฟกระพริบตามเวลาที่ตั้ง(2 ชุด)
ไฟกระพริบตามเวลาที่ตั้ง(2 ชุด)
อุปกรณ์ที่ใช้
1. สวิทช์ปกติเปิด 1 ตัว
2. สวิทช์ปกติปิด 1 ตัว
3. รีเลย์ 2 ตัว
4. ทามเมอร์ตั้งเวลา 2 ตัว
การทำงาน
เมื่อกดสวิทช์ PB2 รีเลย์(RC1),ทามเมอร์(TM1),หลอด(PL1) ทำงานเมื่อถึงเวลาที่ทามเมอร์(TM1)ตั้งไว้คอนแทคทามเมอร์(TM1) ON ต่อให้ชุดที่2 ON ขึ้นมาและรีเลย์(RC2)ตัดการทำงานชุดที่1 เมื่อคอนแทคทามเมอร์(TM2) ON ก็จะต่อให้ชุดที่1 ON พร้อมกับตัดชุดที่2 ทำงานสลับกันไปมาเช่นนี้จนกว่าจะกดสวิทช์(PB1) การทำงานก็จะหยุด
อุปกรณ์ที่ใช้
1. สวิทช์ปกติเปิด 1 ตัว
2. สวิทช์ปกติปิด 1 ตัว
3. รีเลย์ 2 ตัว
4. ทามเมอร์ตั้งเวลา 2 ตัว
การทำงาน
เมื่อกดสวิทช์ PB2 รีเลย์(RC1),ทามเมอร์(TM1),หลอด(PL1) ทำงานเมื่อถึงเวลาที่ทามเมอร์(TM1)ตั้งไว้คอนแทคทามเมอร์(TM1) ON ต่อให้ชุดที่2 ON ขึ้นมาและรีเลย์(RC2)ตัดการทำงานชุดที่1 เมื่อคอนแทคทามเมอร์(TM2) ON ก็จะต่อให้ชุดที่1 ON พร้อมกับตัดชุดที่2 ทำงานสลับกันไปมาเช่นนี้จนกว่าจะกดสวิทช์(PB1) การทำงานก็จะหยุด
เปิด-ปิด สลับกันเมื่อกดสวิทช์ PB1
เมื่อกดสวิทช์ PB1 (กดติดปล่อยดับ) PL1 ,PL2 จะทำงานสลับกัน
ทุกวันนี้เราใช้ประโยชน์จากไฟฟ้ากันตั้งแต่ตื่นตอนเช้าจนถึงเข้านอน เรียกได้ว่าตลอด 24 ชม.เลยทีเดียว แต่เราเคยทราบหรือไม่ว่า ไฟฟ้าที่เราใช้อยู่นอกจากจะมีประโยชน์แล้ว หากเราใช้อย่างไม่ระมัดระวังก็อาจมีโทษมหันต์ทั้งโดนไฟฟ้าดูดและไฟฟ้าลัดวงจรทำให้เกิดเพลิงไหม้ซึ่งอาจทำให้เราได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตโดยไม่ทันตั้งตัว ฉะนั้นการเรียนรู้เรื่องวงจรไฟฟ้าก็เป็นสิ่งที่จำเป็นเช่นกัน เพื่อจะได้ใช้ไฟฟ้าอย่างคุมค่าและปลอดภัย
วงจรควบคุมสลับการทำงานของอุปกรณ์ไฟฟ้า เปลี่ยน PL1,PL2 ให้เป็น Magnetic Contactor และเปลี่ยน PB1 เป็น Pressure Switch เพื่อใช้กับมอเตอร์
วงจรควบคุมสลับการทำงานของอุปกรณ์ไฟฟ้า เปลี่ยน PL1,PL2 ให้เป็น Magnetic Contactor และเปลี่ยน PB1 เป็น Pressure Switch เพื่อใช้กับมอเตอร์
ตัวอย่างสวิทช์(PUSH BUTTON SWITCH)
รีเลย์(RELAY)
ตัวอย่างการนำไปใช้งานกับปั๊มน้ำ
1. การสลับการทำงานของปั๊มน้ำ เมื่อเปลี่ยน PB1 เป็น Pressure Switch และเปลี่ยน PL1 เป็น Magnetic Contactor Pump1 เปลี่ยน PL2 เป็น Magnetic Contactor Pump2
การทำงาน
เมื่อแรงดันนำ้ได้ปั๊ม Pump1 ก็หยุดทำงาน พอแรงดันน้ำตกปั๊ม Pump2 ก็จะทำงานต่อสลับวนกันไปเช่นนี้
รายการอุปกรณ์
- RC1-RC4 คือ RELAY
- PL1-PL2 คือ PILOT LIGHT
- PB1 คือ PUSH BUTTON SWITCH
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)